16 ประโยชน์ของทะเบียนสมรส รู้แล้วรีบไปจดทะเบียนที่อำเภอเลยนะ

1. ทั้งคู่เป็นสามี ภรรย าโดยชอบด้วยกฏหมาย

ซึ่งหมายความว่า มีหลักฐานและประจั กษ์พย าน

เป็นเรื่องเป็นราวนั่นเอง

2. คู่สมรสมีสิทธิ์ได้รับมรดก เหมือนตนเป็นทาย าท

เช่น บุตรของอีกฝ่าย

3. การจดทะเบียนสมรสจะทำให้สามี ภรรย า

มีส่วนร่วมกันในการจัดการ สินสมรส

4. ในกรณีที่จดเทียนสมรสโดยภรรย าเป็นชาวต่างชาติ

สามารถขอสิทธิ์ ใช้สัญชาติไทยได้ตามสามี

5. หากว่าคู่สมรสฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ที่ยังมีชีวิตอยู่

จะเป็นผู้รับผลประโยชน์ ตามสัญญาที่ระบุ ไว้ในประกันชีวิต

6. การจดทะเบียนสมรส ทำให้ผู้ที่เป็นภรรย า

สามารถเลือกใช้นามสกุลได้ทั้งของ ตนเองและของสามี

7. การจดทะเบียนสมรส ทำให้สามี ภรรย า

มีสิทธิ์รับเงินเมื่ออีกฝ่าย เสียชีวิตในหน้าที่

8. การจดทะเบียนสมรสทำให้สามี ภรรย า

มีสิทธิ์เรียกร้อง ค่าเสียหายที่ทำให้อีกฝ่าย เ สี ย ชี วิ ต ได้

9. การจดทะเบียนสมรส สามารถลดหย่ อนภาษีได้

10. ใช้เป็นหลักประกันได้ว่า เมื่อมีการจดทะเบียนสมรสแล้ว

ฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด จะไม่สามารถไปจดทะเบียน สมรสกับคนอื่นได้

หากฝ่าฝืน จะถือว่าการจดทะเบียนครั้งล่าสุดเป็น โ ม ฆ ะ

และอีกฝ่ายสามารถฟ้องหย่ าได้ และฝ่ายที่เป็นมือที่สาม

ในการจดทะเบียนซ้อนถื อว่ามีความผิ ดด้วย

11. การจดทะเบียนสมรม ทำให้สามี ภรรย า

มีสิทธิ์เรียกร้องค่า เสียหายในกรณีที่อีกฝ่ ายมีชู้ได้

12. การจดทะเบียนสมรส ทำให้ลูกที่เกิดมา

เป็นลูกที่ถูกต้องตามกฎหมาย ของทั้งสองฝ่าย

13. ในกรณีที่เป็ความผิ ดของสามี ภรรย า

หรือเป็นเรื่องของคุณสองคน เช่น ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

ลักทรัพย์ของกัน ก็ไม่ต้องรับโท ษทางกฎหม าย

14. หากสามีหรือภรรย า ถูกทำร้ ายร่างก ายจนบ าดเจ็ บ

สาหั สหรือถึงแ ก่ ชี วิ ต โดยไม่สามารถฟ้องร้องคดีเองได้

อีกฝ่ายที่ยังมีชีวิตอยู่ สามารถร้องทุกข์ต่อตำรวจ

หรือฟ้อง ศ า ล แทนได้

15. ในคดีหมิ่ นประม าท ที่กระทำต่อสามีหรือภรรย า

เมื่อต่อมาหากเกิดฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง เ สี ย ชี วิ ต ก่อนร้องทุกข์

อีกฝ่ายที่ยังมีชีวิตอยู่ สามารถร้องทุกข์แทนได้

16. หากคู่สมรสมีอายุ 17 ปีขึ้นไป เมื่อจดทะเบียนสมรสแล้ว

กฎหมายถือว่าผู้นั้นได้บรรลุนิติภาวะแล้ว และถึงแม้จะหย่ า

กันก่อนอายุ 20 ปีบริบูรณ์ ก็ถือว่าบรรลุนิติภาวะอยู่ดี